หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๘)
จากฉบับที่แล้ว ผู้เขียนได้พาท่านผู้อ่านย้อนรำลึกถึงประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาที่สำคัญที่สุดช่วงหนึ่งของประเทศไทย นั่นก็คือพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ในยุคต้นรัตนโกสินทร์ คือ รัชกาลที่ ๑ ที่...
สาธุศีลชาดก ชาดกว่าด้วยตำราเลือกลูกเขย
เมื่อครั้งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสวยพระชาติเกิดเป็นอาจารย์ทิศาปาโมกข์ในเมืองตักศิลา ได้มีพราหมณ์เฒ่าผู้หนึ่ง มีลูกสาวที่งามพร้อมทั้งกาย วาจาและใจจนเป็นที่หมายปองของหนุ่มน้อยหนุ่มใหญ่สี่คนด้วยกัน
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๖)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนได้นำเสนอผลงานวิจัยการค้นพบ หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณที่ประเทศไทย ฉบับก่อนหน้านั้น ผู้เขียนมีความเชื่อมั่นว่า ท่านผู้อ่านที่ติดตามเรื่องราวมาตลอด และผู้ใคร่ต่อการศึกษา นักวิชาการเมื่อได้อ่านบทความและรับทราบถึงข้อมูลที่สมบูรณ์ด้วยเหตุผลพร้อมหลักฐานที่นำเสนอแล้วนั้น
สร้างมหาวิหาร มหาทานข้ามชาติ
การให้ทาน เป็นเครื่องฝึกจิตที่ยังไม่ได้ฝึก การไม่ให้ทาน เป็นเครื่องประทุญร้ายจิตที่ฝึกแล้ว (ปฐมทานสูตร)
ความรู้เกี่ยวกับการทำทาน
การทำบุญกับการทำทานเหมือนหรือต่างกันอย่างไร ? อานิสงส์ในการทำบุญทำทานเหมือนหรือต่างกันอย่างไร ? การทำบุญทำทานกับพระภิกษุ มนุษย์ และสัตว์ ได้อานิสงส์ต่างกันไหม ?
Case Study โรคมะเร็งลำไส้ (อุบาสกปองสิชฌ์) ตอนที่ 1
คำถามข้อที่ 1. น้องชายของลูกตายแล้วไปไหน เขามีความเป็นอยู่ในปรโลกเป็นอย่างไร และเขามีข้อความอะไรฝากมาถึงคนในครอบครัวบ้างไหมครับ
ปุณณปาติกชาดก ชาดกว่าด้วยความฉลาดทันคน
ย้อนไปในอดีตกาล สมัยที่พระเจ้าพรหมทัตทรงครองราชย์สมบัติ ณ กรุงพาราณสี ในครั้งนั้นยังมีนักเลงเหล้านั่งล้อมวงดื่มเหล้า เมาเป็นอาจิณ
พิธีหล่อรูปเหมือนทองคำพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) องค์ที่ 8
ในการหล่อรูปเหมือนหลวงปู่ การหล่อรูปเหมือนหลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญไม่ใช่เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นง่าย ๆ ดังนั้นสาธุชนผู้มีบุญทุกท่านไม่ควรพลาดโอกาสในการสั่งสมบุญนี้เพราะการหล่อ รูปเหมือนหลวงปู่วัดปากน้ำ เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นท่ามกลางเหตุแห่งความยากดังต่อไปนี้ คือ.....
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๕)
หลังจากการล่มสลายของราชวงศ์สตวาหนะแล้ว ราชวงศ์อานธรอิกศวากุ ได้ปกครองดินแดนแถบนี้ระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ ๘ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๙ โดยตั้งเมืองหลวงที่เมืองวิชัยปุระหรือนาคารชุนโกณฑะ สมาชิกฝ่ายสตรีในราชวงศ์นี้เป็นพุทธมามกะได้สร้างวิหารเทวีและวิหารสิงหล ให้เป็นอาสนสถานของพระสงฆ์จากลังกา และสร้างชัยตยฆระ ถวายแด่ฝ่ายพระเถรีจากลังกาความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาของลังกาและอินเดียแถบอานธรประเทศในยุคนี้มีความใกล้ชิดกันเป็นอย่างมาก
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๔)
ผู้เขียนและคณะนักวิจัยของสถาบันดีรี (DIRI) ได้นำเสนอเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนามาอย่างต่อเนื่องประจำทุก ๆ เดือนผ่านมาได้ ๓ ฉบับแล้ว แต่การเผยแผ่พระพุทธศาสนายังมีเรื่องราวอีกมาก ในฉบับนี้ผู้เขียนจึงขอนำเสนอ ประวัติของเส้นทางเผยแผ่พระพุทธศาสนา ต่อเนื่องจากฉบับที่แล้ว